วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

แนวโนมของการประยุกตใชขอมูลรีโมทเซนซิงในอนาคต

        เปนที่ตระหนักวา ขอมูลรีโมทเซนซิงมีศักยภาพในการนํามาใชประโยชนไดอยางมากมายมหาศาล  อยางไรก็ตามการใชขอมูลรีโมทเซนซิงในการวิเคราะหสภาพแวดลอมและสถานการณของโลกที่ซับซอนและยุงยากในปจจุบันนี้เพียงอยางเดียว ยังไมเพียงพอที่จะชวยตัดสินปญหาไดถูกตอง จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองนําเอาขอมูลอยางอื่นมาประกอบดวยเพื่อชวยใหมีการวางแผนการตัดสินใไดถูกตองยิ่งขึ้น
         การใชขอมูลรีโมทเซนซิงจะมีประโยชนสูงสุดถาหากนําไปผสมผสานกับขอมูล GIS และขอมูล จากระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System หรือ GPS)ซึ่งทั้งสามระบบนี้เมื่อนํามารวมกันจะเรียกวา “Geoinformatic” ซึ่งเปนระบบสารสนเทศเชิงพื้นที่ในลักษณะสหสาขา ใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการจัดการ การวางนโยบาย การปฏิบัติการการวางแผนและการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และสภาพแวดลอม (ดาราศรี,2541) และเมื่อนําเอาระบบ Geoinformatic มาประกอบเขากับระบบสื่อสารดาวเทียมที่กําลังกาวหนาอยูในปจจุบันนี้ จะทําใหเกิดมิติใหมดานสารสนเทศเชิงพื้นที่ ซึ่งจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการประยุกตทางดาน วิศวกรรมศาสตรและดานอื่นๆเชนการกอสรางตางๆและการอนุรักษดินและน้ําเปนตน



อ้างอิง

http://www.gisthai.org/about-gis/remote-sensing.html