วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การประยุกตใชขอมูลดาวเทียม

       ข้อมูลดาวเทียมที่ไดจากอุปกรณบันทึกตางระบบ จะมีคุณสมบัติแตกตางกันไป ดังนั้นกอนที่จะนําขอมูลมาใชประโยชน จําเปนตองพิจารณาถึงคุณสมบัติของดาวเทียมดวยโดยทั่วไปแลว ผูใชขอมูลมักจะพิจารณาดาน คุณสมบัติเชิงคลื่น มีคุณสมบัติเชิงพื้นที่ และคุณสมบัติเชิงกาลเวลา (temporal characteristic)การประยุกตใชขอมูลดาวเทียมคลายกับการใชภาพถายทางอากาศในดานแปลความหมายจากภาพ แตภาพขอมูลดาวเทียมมีศักยภาพตางไปจากภาพถายทางอากาศ เทคนิคการแปลความหมายก็แตกตางกัน ภาพขอมูลดาวเทียมสามารถนํามาประยุกตใชไดหลายๆ ดานเชน ปาไมการใชที่ดิน การเกษตร ธรณีวิทยา อุทกวิทยา อุบัติภัย ลักษณะตะกอนชายฝง ภัยธรรมชาติและการปรับปรุงแผนที่ เปนตน ดังมีรายละเอียดพอสรุปไดดังนี้
1. ดานการเกษตร (Agriculture)
  ขอมูลรีโมทเซนซิงสามารถนํามาใชประโยชนทางดานการเกษตรไดหลายอยางเชนการทําแผนที่ เพาะปลูกพืช การบงชี้เชื้อโรคตาง ๆ และความเครียดของพืช การประเมินผลผลิตพืชและการตรวจหาวัชพืชและพืชที่ผิดกฎหมายเชน ฝน เปนตน
2. ดานธรณีวิทยา (Geology)
      เชน จําแนกรอยแตกแยกหรือโครงสรางอื่น ๆ ทําแผนที่ภูมิสัณฐานวิทยาและแผนที่พืชพรรณ การสํารวจแหลงแรธาตุและน้ํามันปโตรเลียม การวิเคราะหทางธรณีสัณฐานและการระบายน้ําและการจําแนกชนิดของหิน
3. ดานสมุทรศาสตร (Oceanography)
       เชน ตรวจอุณหภูมิของทะเล ทําแผนที่พื้นผิวทะเลและภูมิประเทศใตทองทะเล ทําแผนที่กระแสน้ําในทะเล (Ocean Current Mapping) ศึกษามลภาวะในทะเล และศึกษาหาแหลงปลาและ ศึกษาน้ําแข็งในทะเล
4. ศึกษาทรัพยากรธรรมชาติที่ฟนตัวได (Renewable Resources)
        เขน สํารวจและติดตามการใชประโยชนที่ดิน (Land Cover Inventory And Monitoring)
ศึกษาดานการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ทําแผนที่ชนิดของภูมิประเทศ ประเมินผลกระทบของภัยธรรมชาติเชน ไฟปาและความแหงแลง
5. ศึกษาดานการชะลางพังทลายของดิน (Soil Erosion Mapping)
       เชน ทําแผนที่และติดตามการชะลางพังทลาย พยากรณแหลงที่มีการชะลางพังทลายติดตามแหลงที่มีการพังทลายของดิน และความเปนทะเลทราย
6. อุทกวิทยา (Hydrology)
        ติดตามแหลงกักเก็บน้ําใตดิน ติดตามกิจกรรมดานการชลประทาน ทําแผนที่แหลงความเค็ม การประเมินความชื้นในดิน และอุณหภูมิพื้นผิวดิน วางแผนดานวิศวกรรมการกอสรางและติดตามประสิทธิภาพของงาน
7. การทําแผนที่ (Cartography)
     ในแขนงวิชาที่เกี่ยวของกับการวัด และจัดทําแผนที่ เชน จีโอดีซี่และโฟโตแกรมเมตรี(Geodesy and Photogrammetry) สามารถรวมกับขอมูลอื่นเพื่อแสดงผลผลิตแผนที่ทําภาพสามมิติเพื่อจัดทําแผนที่ภูมิประเทศ และเก็บรวบรวมและแกไขแผนที่ใหทันสมัย
8. ดานอุตุนิยมวิทยา (Meteorology)
      ศึกษาอุณหภูมิ และรูปแบบของอากาศทองถิ่น ทําแผนที่เมฆ ติดตามการเคลื่อนตัวของพายุโซนรอน ติดตามไฟปา ทําแผนที่แหลงที่มีหิมะปกคลุม และ ศึกษาสภาพอากาศ
9. ศึกษาดานผังเมือง (Urban Planning Studies)
      เชน ทําแผนที่แสดงขอบเขตและการเปลี่ยนแปลงการตั้งถิ่นฐานเมือง ศึกษาดานความหนาแนนของชุมชน และการระบายน้ําในตัวเมือง ศึกษาเกี่ยวกับเสนทางคมนาคมและประเมินผลกระทบที่เกิดจากการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรมที่มีตอสภาวะอากาศ
          ตัวอยางกรณีศึกษาการประยุกตใชขอมูลดาวเทียมในประเทศไทย ดานการใชประโยชนที่ดิน ดานการเกษตร และดาน อื่น ๆ สามารถตรวจไดจากวารสารสํารวจระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร (Journal of Remote Sensing and GIS Applications)ที่ออกโดยสมาคมสํารวจขอมูลจากระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร (องคการมหาชน) หรือวารสารที่เกี่ยวของอื่น ๆ นอกจากนี้แลว สมพร สงาวงศ (2543) ไดรวบรวมบทความทางวิชาการดานสํารวจระยะไกล และสารสนเทศภูมิศาสตรไว กรณีศึกษา ซึ่งอาจจะเปนแนวทางในการนําเอาขอมูลสํารวจระยะไกล ไปประยุกตใชในสาขาที่สนใจตอไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น