วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ประเภทของดาวเทียมสํารวจโลก

        การพัฒนาดาวเทียมสํารวจโลกยังคงดําเนินตอไปอยางตอเนื่อง และมีแนวโนมพัฒนาใหดาวเทียมมีอุปกรณหลากหลายชนิด และมีศักยภาพในการบันทึกขอมูลในรายละเอียดสูงขึ้นดาวเทียมดวงหนึ่ง ๆ จึงทําไดหลายหนาที่ โดยทั่วไปแลวการจําแนกดาวเทียมสํารวจโลกตามหนาที่แบงได 4 ชนิดคือ
1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Satellites)
        วัตถุประสงคของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาคือบันทึกภาพชั้นบรรยากาศโลกประจําวันเพื่อใหไดภาพตอเนื่องของบรรยากาศโลกและมีอุปกรณหยั่งวัดอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศ เครื่องวัดการแผรังสีของโลก ตัวอยางดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เชนดาวเทียม ATS (ApplicationTechnology Satellite) ปฏิบัติงานใน พ.ศ. 2513 ดาวเทียม SMS (SunsynchronousMeteorological Satellites) ปฏิบัติงานชวงปลายป พ.ศ. 2513 ดาวเทียมนี้จะเคลื่อนตัวอยูเหนือระดับ อิเควเตอร ในระดับความสูงประมาณ 36,000 กม. จะทําการบันทึกภาพพื้นโลก ในระหวาง 60 ํเหนือ และ 60 ใตปจจุบันนี้มีดาวเทียม ที่กําลังปฏิบัติงานอยู คือGOES (Geostationary Operational Environmental Satellites) West &East ดาวเทียม NOAA และ ดาวเทียม Meteosat

2. ดาวเทียมสํารวจสมุทรศาสตร (Sea Satellites)
            ดาวเทียมสํารวจสมุทรศาสตรสํารวจขอมูลดานลักษณะคลื่นผิวน้ําและใตผิวน้ํา ความสูง
ของคลื่น ศึกษาน้ําแข็งในทะเล อุณหภูมิผิวหนาทะเล ไอน้ําในชั้นบรรยากาศ ความเร็วลมดาวเทียมสมุทรศาสตร ทําการบันทึกในชวงคลื่น microwave ซึ่งเปนชวงคลื่นยาวตัวอยางดาวเทียมสํารวจสมุทรศาสตรเชน SEASAT RADARSAT และ MOS-1

3. ดาวเทียมสํารวจแผนดิน (Land Satellites-LANDSAT)
           ดาวเทียมสํารวจแผนดินมีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีวิวัฒนาการเริ่มจากการสงดาวเทียม LANDSAT-1 (ค.ศ. 1972) ของประเทศสหรัฐอเมริกาและยังสงดาวเทียมดวงถัดมา (LANDSAT-4-5-6) ปจจุบันใชขอมูลจาก LANDSAT- 5 และ LANDSAT- 7 (ค.ศ.1999) และดาวเทียมดวงอื่น ๆ เชน ดาวเทียม SPOT ของประเทศฝรั่งเศส IKONOSขององคการเอกชนของสหรัฐอเมริกา รูปที่ 5 เปนตัวอยางดาวเทียมสํารวจแผนดินตั้งแตยุคแรกเริ่มมาจนกระทั่งถึงยุคปจจุบัน

     ดาวเทียมสํารวจแผนดินจัดเปนดาวเทียมที่มีรายละเอียดปานกลางเชน
     1.แบบกวาดภาพหลายชวงคลื่น (Multispectral Scanning System) หรือเรียกยอ ๆ วา MSS ประกอบดวย 4 ชวงคลื่น มีรายละเอียดจุดภาพประมาณ 80 เมตรและทําการบันทึกขอมูลในแถบชวงคลื่นสีเขียว 1 ชวงคลื่น สีแดง 1 ชวงคลื่น และอินฟราเรดใกล 2 ชวงคลื่น ตารางที่1แสดงคุณสมบัติเชิงพื้นที่ (spatial characteristic)และเชิงคลื่น (spectral characteristic) และการประยุกตใชขอมูลจากดาวเทียมชนิดนี้
      2.LANDSAT Thematic Mapper (TM ) มีรายละเอียดจุดภาพ 30 เมตรทําการบันทึกขอมูลในแถบชวงคลื่น 7 ชวงคลื่น คือ น้ําเงิน เขียว แดง อินฟราเรดใกลอินฟราเรดกลาง และ ชวงคลื่นความรอน (Thermal Wavelength) คุณสมบัติและการประยุกตใชขอมูลจากดาวเทียมชนิดนี้
       ปจจุบันนี้สามารถรับขอมูลจากดาวเทียมดวงที่ 7 คือ Enhanced Thematic Mapper(ETM+) ซึ่งใหรายละเอียดจุดภาพ 15 เมตรและเพิ่มรายละเอียดเชิงคลื่นจาก LANDSAT- 5 อีก1ชวงคลื่น คือแบนด 8 มีรายละเอียดจุดภาพประมาณ15 เมตร
ตัวอยางดาวเทียมสํารวจแผนดิน และดาวเทียมอื่น ๆ ที่ดําเนินการอยูในปจจุบัน


คุณสมบัติของดาวเทียมระบบ Thematic Mapper และการนํามาใชประโยชน


คุณสมบัติของดาวเทียมระบบ MSS และการนํามาใชประโยชน


4.ดาวเทียมสํารวจนํารอง (NAVSTAR)
       ระบบดาวเทียมสํารวจนํารอง (NAVigation Sattellite Timing And Ranging:NAVSTAR) ถูกสงขึ้นไปเมื่อ ค.ศ. 1978 โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อสนับสนุนการกําหนดตําแหนงระบบจีพีเอส (Global Positioning System: GPS) ใชทั้งกิจการทหารและพลเรือนระบบนี้จะมีดาวเทียมทั้งหมดรวม 24 ดวงโคจรอยูที่ความสูง 20,200 กม. ผูใชที่ภาคพื้นดินจะตองมีเครื่องมือรับสัญญานจากดาวเทียมเพื่อสกัดหาตําแหนงคาพิกัดภูมิศาสตร หรือคาพิกัดอื่นๆ เชนพิกัด UTM

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น